วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2558

โทรทัศน์ครู

โทรทัศน์ครู : น้ำไม่เต็มแก้ว



เป็นการรวบรวมจุดเด่นของรายการโทรทัศน์ที่ผ่านมา สู่การนำไปประยุกต์ใช้ผ่านมุมมองของครูคนหนึ่ง ที่ต่อยอดความรู้ที่ได้รับจากรายการ เช่น การนับวรรณยุกต์ โดยประยุกต์ใช้มือในการนับวรรณยุกต์ หรือการเขียนแผนการสอนว่าควรทำอย่างไร และครูคนนี้ได้แสดงให้เห็นว่าการชมรายการโทรทัศน์ของเขา ได้สร้างแรงบันดาลใจให้ครูดังกล่าว พยายามสอนนักเรียนให้ดี เช่นการสอนเรื่องม้าก้านกล้วย ครู ได้เตรียมม้าก้านกล้วยจริงๆ ให้เด็กได้ลองเล่น จากนั้นสอนเด็กให้คิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการเล่นเกม และการเล่นม้าก้านกล้วย นอกจากนี้ครูคนนี้ยังไม่ทอดทิ้งนักเรียนพิเศษ ให้เขาได้ฝึกปฏิบัติ ตามแบบฝึกหัดที่ครูทำพิเศษให้สำหรับเด็กพิเศษ

บทความ

อพวช. ผนึกพันธมิตรจัดงาน “วันนักวิทยาศาสตร์น้อย” หวังปลูกความรักวิทยาศาสตร์ให้เด็กปฐมวัย



อพวช. ผนึกพันธมิตรจัดงาน “วันนักวิทยาศาสตร์น้อย” หวังปลูกความรักวิทยาศาสตร์ให้เด็กปฐมวัย
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย อพวช. จับมือ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย พร้อมหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จัดงาน “วันนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย 2556” พร้อมกัน 4 ภาค หวังปลูกฝังความรักวิทยาศาสตร์ในเด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ รอบตัวกับ 4 เรื่องราว “ดิน น้ำ ลม ไฟ” เริ่ม 12 มิ.ย. - 31 ส.ค. 56 นี้ ที่จัตุรัสวิทยาศาสตร์ อพวช. กรุงเทพฯ, ลานข่วงเมืองน่าน จ. น่าน, สพป. ศรีสะเกษ เขต 1 และหาดทรายแก้ว จ. สงขลาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2556 : นายพิชัย สนแจ้ง ผู้อำนวยการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) กล่าวในงานพิธีเปิดงาน “วันนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย 2556” ว่า ในยุคปัจจุบัน การพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมนานาประเทศการสร้างทัศนคติและทักษะพื้นฐานที่ดีด้านวิทยาศาสตร์แก่เด็กไทยในวันนี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการเริ่มตั้งแต่เยาว์วัย มีงานวิจัยอีกหลายชิ้นยืนยันว่า เด็กวัยอนุบาล (3 – 6 ปี) เป็นช่วงที่มีความสำคัญมาก เพราะมีความสามารถในการเรียนรู้และการจดจำสูงสุด เป็นวัยที่จะต้องวางรากฐานที่ดี และปลูกฝังความรัก ความประทับใจในวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะง่ายต่อการพัฒนากระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ ที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพของชาติ ด้วยเหตุนี้ อพวช. จึงได้ร่วมกับ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของมูลนิธิพระเทพรัตนราชสุดา และบริษัท นานมีบุ๊คส์ จำกัด พร้อมด้วยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ ยังได้ขยายกิจกรรมไปสู่โรงเรียนต่าง ๆ อีกกว่า 8,000 โรงเรียนทั่วประเทศ ด้วยการสนับสนุนจากผู้นำเครือข่าย ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และ กลุ่มบริษัท บี.กริม เพื่อให้เด็กไทยในทั่วทุกภูมิภาคมีโอกาสเข้าถึงกิจกรรมนี้ได้มากที่สุด ซึ่งมีทั้งกิจกรรมการทดลองหลากหลายที่ท้าทายความสามารถ และเกมส์วิทยาศาสตร์ที่สนุกสนานสำหรับเด็กวัยนี้โดยเฉพาะ นายพิชัยฯ

วิจัย

ผู้เขียน นางสาวจุฑามาศ เรือนก๋า
มหาวิทาลัยเชียงใหม่

      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อนพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกา2552 โรงเรียนบ้านหลวง อำเภอฝาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ช้ในการศึกษาประกอบด้วย ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 20 ชุด ใช้เวลาละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 20 ชั่วโมง และแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจำนวน 25 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละแล้วเทียบกับเกณฑ์การผ่านที่กำหนดไว้คือร้อยละ 60.00 และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ตารางประกอบการบรรยาย
ผลการศึกษาพบว่า
1.ได้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 20 ชุด ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่สามารถนำไปใช้พัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
2.ผลการใข้ชุดกืจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยนเป็นค่าร้อยละ 90.40 ซึ่งสูงกว่าเกณ์การผ่านที่กำหนดไว้คือร้อการสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยละ 60.00
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
1.การสังเกต
2.การจำแนก
3.การสัด
4.การหานิติสัมพันธ์
ตัวแปรต้น ชุดกิจกรรม
ตัวแปรปลาย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์



บันทึกอนุทินครั้งที่15

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย




อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน 2557  

กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น

วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่14

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย




อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 18 เดือน พฤศจิกายน 2557  

กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น

ให้นำเสนองานวิจัยหรือโทรทัศน์ครู


1. การกำเนิดของเสียง  (โทรทัศน์ครู) 
2. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (วิจัย)
3.สารอาหารในชีวิตประจำวัน  (โทรทัศน์ครู)
4. ไฟฟ้าและพรรณพืช  (โทรทัศน์ครู)
5.ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ (วิจัย)
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร (วิจัย)


การทำ"Waffle"


ส่วนผสม(Compound)
1.แป้ง(Powder)
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)

ขั้นตอนการทำ(Step)
1.เทแป้งลงในภาชนะที่เตรียมไว้
2.นำไข่ใส่ลงไปตามด้วยเนยจืดคนให้เข้ากัน
3.เติมน้ำเพื่อไม่ให้แป้งข้นจนเกินไป
4.คนจนแป้งเข้าที่เป็นเนื้อเดียวกันก็จะได้แบบนี้
5.แบ่งแป้งใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
6.นำเนยทาที่แม่พิมพ์ที่เตรียมไว้เพื่อไม่ให้แป้งติดแม่พิมพ์
7.นำแป้งที่แบ่งไว้ในถ้วยเทลงในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้
8.รอจนสุกก็จะได้ออกมาเป็นwaffle








บันทึกอนุทินครั้งที่13

 การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย




อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 11 เดือน พฤศจิกายน 2557  

กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น

 วันนี้อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่มออกมานำสอนแผนการสอน

 หน่วยที่ 1 สอนแผนเกี่ยวกับบอกชื่อผลไม้แต่ล่ะชนิด

 หน่วยที่ 2 สอนแผนเกี่ยวกับการทำอาหาร น้ำแตงโมปั่น

หน่วยที่ 3 สอนแผนเกี่ยวกับบอกชนิดและชื่อช้าง

หน่วยที่ 4 สอนแผนประโยชน์และข้อควรระวังของข้าวโพด

 หน่วยที่ 5 สอนแผนประโยชน์และข้อควรระวังของกล้วย

หน่วยที่ 6 สอนแผนลักษณะของผีเสื้อ




ภาพกิจกรรม


กลุ่ม1


กลุ่ม2



กลุ่ม3



กลุ่ม4



กลุ่ม5



กลุ่ม6







x

บันทึกอนุทินครั้งที่12